ประกาศข่าวยกย่องอาจารย์และนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ดีเด่น ปี 2565
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด 30 มกราคม 2566
ประเภทงานวิจัย จำนวนผู้เข้าชม 8 คน
รศ.ดร.สำราญ
ขันสำโรง ประธานหลักสูตรภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ได้รับเลือกเป็นนักวิจัย “รางวัลชมเชย” ประจำปี พ.ศ.2565
และได้นำเสนอในข่าวสารออนไลน์ของวิทยาเขตเชียงใหม่
ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
ครั้งที่ 1 The
1st Conference of MCU Nakhon Sawan Campus and 13th International Conference of Buddhist Research Institute of
MCU “Interdisciplinary of Knowledge and Wisdom on the Chao Phraya River Basin
for Sustainable Development” held at Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Nakhon Sawan Campus on January 25th , 2023.
ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (2562). “ผลของพุทธนวัตกรรมต่อสัญญาณคลื่นสมองในพระภิกษุจังหวัดเชียงใหม่”. มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น. แหล่งทุน มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น พ.ศ.2562 ดร.เดชา ตาละนึก, ผศ.ดร.สำราญ ขันสำโรง, , ผศ.ดร.วิสุทธิชัย ไชยสิทธิ์, นายปั่น อะทะเทพ, พระทิพย์พนากรณ์ ชยาภินนฺโท. (2561). “การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวในชุมชน กรณีศึกษา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่”, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. แหล่งทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2561 สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (2561). “บทบาทและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา ชาเตอร์ ของพระภิกษุและสามเณรที่พำนักวัดพัฒนาตัวอย่างในจังหวัดเชียงใหม่”,แหล่งทุน มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น พ.ศ.2561 สำราญ ขันสำโรง. (2560). “ล้านนา, คติความเชื่อ และกระบวนการสร้างความรู้แบบสหวิทยาการ ของนักวิชาการตะวันตก”, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. แหล่งทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2560 บทความทางวิชาการ สำราญ ขันสำโรง. (2561). “ล้านนา, คติความเชื่อ และกระบวนการสร้างความรู้แบบสหวิทยาการ ของนักวิชาการตะวันตก”, วารสาร Journal of Buddhist Studies. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): 124-136. สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (2563). “ผลของพุทธนวัตกรรมต่อสัญญาณคลื่นสมองในพระภิกษุจังหวัดเชียงใหม่”, Journal of Buddhist Studies. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): 181-197. สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (2562). “บทบาทและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา ชาเตอร์ ของพระภิกษุและสามเณรที่พำนักวัดพัฒนาตัวอย่างในจังหวัดเชียงใหม่”, วารสาร Journal of Buddhist Studies. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): 35-51. ผศ.ดร.สำราญ ขันสำโรง, ผศ.ดร.วิสุทธิชัย ไชยสิทธิ์, ดร.เดชา ตาละนึก, พระครูใบฎีกาทิพย์พนากณ์ ชยาภินนฺโท, อาจารย์ปั่น อะทะเทพ. (2563). “การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวในชุมชน กรณีศึกษา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่”, วารสารแสงโคมคำ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม - ธันวาคม): 294-312.
กลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา สำนักวิชาการ / ข่าว
กลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา สำนักวิชาการ / ภาพ
ข่าวงานวิจัย
- การพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชุมชนบนฐานธรรมชาติ ศาสนธรรม และวัฒนธรรม อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ (13)
- ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนาวิชาการพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ประจำปี 2562 THE NATIONAL AND INTERNATIONAL CONFERENCE ON BHUDDHISM, ARTS & CULTURE (ICBAC, MCU.) B.E 2562/2019 (8)
- ประกาศข่าวยกย่องอาจารย์และนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ดีเด่น ปี 2565 (8)
- Buddhist Art of Painting Contemporary (7)
- การบูรณาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองกับการทำงานเพื่อการบริการการท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตววิถี ในจังหวัดเชียงราย (7)
- การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ ๒ (7)
- การลอกลายพระบฎโบราณเพื่อสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย (7)
- การแกะลายคำเพื่อสร้างสรรค์การเรียนรู้ศิลปศึกษา (7)
- ตำราหรือหนังสือที่ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว จำนวน ๒ เรื่อง (7)
- ประกาศการรับรองเป็นวิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักวิจัยในมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ ปี ๒๕๖๓ (7)